อีเมล์ :
รหัสผ่าน :
ลืมรหัสผ่าน
ปรับขนาดตัวอักษร
โหมดการเข้าถึงสำหรับผู้พิการ
ภาษา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
 
ที่ตั้ง
เทศบาลเมืองบางคูวัด ตั้งอยู่เลขที่ 999 หมู่ที่ 1 ตำบลบางคูวัด เป็นอาคาร คสล.ขนาด 7 ชั้น ขนาดตัวอาคาร 7,000 ตารางเมตร บนเนื้อที่ 16 ไร่ 1 งาน 88.1 ตารางวา ตั้งอยู่ริมถนน 345 โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองปทุมธานี ประมาณ 11 กิโลเมตร ประกอบด้วย 12 หมู่บ้าน ทั้งตำบลครอบคลุมพื้นที่ 18.46 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑๑,๕๓๘ ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้
สังคม, การศึกษา
  • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบางคูวัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเอื้ออาทรบางคูวัด
  • ระดับประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดบางคูวัด โรงเรียนอนุบาล ปาริชาต โรงเรียนสาธิตปทุม โรงเรียนพิทักษ์นครินทร์ โรงเรียนอนุบาลสุขใจ
  • ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 2 แห่งได้แก่ โรงเรียนวัดบางคูวัด โรงเรียนสาธิตปทุม
อาณาเขต
เทศบาลเมืองบางคูวัดมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้
  • ทิศเหนือ ติดกับ เขตตำบลบางเดื่อ อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
  • ทิศใต้ ติดกับเขตตำบลบางตะไนย์ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสงขลา
  • ทิศตะวันออก ติดกับ เขตตำบลบางขะแยง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
  • ทิศตะวันตก ติดกับอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และเขตตำบลคลองพระอุดม อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มีลำคลองไหลผ่านพื้นที่หลายหมู่บ้าน เช่น คลองบางคูวัด คลองซอก คลองปลายบัว คลองหนามแดง คลองไกร คลองชมพูเดช คลองพระโอย คลองสายยู คลองเกาะเกรียง
- พ.ศ. 2464 – 2467 สมเด็จพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ซึ่งในขณะนั้นทรงดำรงตำแหน่งอุปราชมณฑลปักต์ใต้ ได้ทรงริเริ่มจัดหาทุนสำหรับก่อสร้างโรงพยาบาล โดยใช้เงินรวมทั้งสิ้น 170,593.58 บาท
- พ.ศ. 2468 สมเด็จพระบรมราชชนก เสด็จมาเป็นประธานในพิธีเปิด เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2468 ได้ประทานนามว่า “สงขลาพยาบาล” และทรงประทานเงินบำรุง ปีละ 5,000 บาท ทุกปี จนเสด็จทิวงคต โรงพยาบาลมีคณะกรรมการเป็นผู้บริหารโรงพยาบาลแบบมูลนิธิ โดยหลวงศัลยเวชพิศาล เป็นนายแพทย์ผู้ปกครองคนแรกของโรงพยาบาล (2468 – 2482)
- พ.ศ. 2478 พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) ประธานคณะกรรมการโรงพยาบาล ได้โอนกิจการของโรงพยาบาลไปเป็นของเทศบาล และเปลี่ยนชื่อเป็น “ โรงพยาบาล (เทศบาล) เมืองสงขลา ”
- พ.ศ. 2490 คุณหญิงพูนสุข ป.ปรีชาพานิช บริจาคเงินสร้างตึก “ สำราญสุข ” พร้อมทั้งบริจาคเครื่องเอกซเรย์ และเครื่องฉายแสงอุลตราไวโอเล็ต และอุปกรณ์อื่น ๆ เป็นเงินทั้งสิ้น 170,109 บาท เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ นายสำราญ ปรีชาพานิช สามีผู้วายชนม์
- พ.ศ. 2495 นายพ่วง สุวรรณรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ได้ร่วมประชุมกับคณะเทศมนตรีและเทศบาลเมืองสงขลา ให้โอนกิจการโรงพยาบาลไปสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในขณะนั้น นายแพทย์วิทยา ทรัพย์ปรุง รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
- พ.ศ. 2499 – 2500 คุณหลวงประธานราษฎร์นิกร คุณนายสมบูรณ์ ภรรยา พร้อมทั้งบุตร – ธิดา ได้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินสร้างตึกผู้ป่วยนอก เป็นเงิน 1,080,000 บาท ให้ชื่อว่า “ ตึกประธานราษฎร์นิกร ” ประกอบด้วยห้องตรวจผู้ป่วยนอก ห้องยา ห้องทันตกรรม ห้องตรวจผู้ป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ ห้องธุรการ ห้องการเงิน คลังเลือด ห้องพักแพทย์เวร และห้องผ่าตัดที่ทันสมัย
- พ.ศ. 2500 มีผู้มีจิตศรัทธาร่วมทำบุญสร้าง “ ตึกพยาบาลสงฆ์ ” และทำพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันเพ็ญ เดือน 6 ตรงกับวันฉลอง 25 พุทธศตวรรษ กระทำพิธีเปิด เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2501 ค่าก่อสร้างเป็นเงิน 360,100 บาท
- พ.ศ. 2501 – 2502 ดำเนินการสร้าง “ ตึกยุคลฑิฆัมพร ” เป็นตึก 2 ชั้น โดยใช้เงินบำรุงโรงพยาบาล เงินบริจาค และเงิน กศส. เป็นเงินทั้งสิ้น 840,000 บาท
- พ.ศ. 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม-ราชานุญาติ ให้สร้างพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนกประดิษฐาน ณ บริเวณหน้าตึกมหิดลอดุลยเดช ซึ่งอยู่ระหว่างตึกสำราญสุข (สร้างใหม่) กับตึกยุคลฑิฆัมพร ทรงพระราชทานเงินเป็นทุนประเดิม 10,000 บาท ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดตึก และพระบรมราชานุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2508
- พ.ศ. 2509 ได้รับงบประมาณและเงินบริจาคสร้างตึกผู้ป่วย 2 ชั้น เป็นเงิน 950,000 บาท ตึกนี้ได้รับพระราชทานนามว่า “ ตึกศรีสังวาลย์ ” ซึ่งเป็นตึกผู้ป่วย ตา หู คอ จมูก และหออภิบาลผู้ป่วยหนัก
วิสัยทัศน์

" โรงพยาบาลแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อชาวสงขลา "